Telemedicine: MoPH-Huawei menandatangani kontrak untuk mengembangkan sistem 5G Healthcare untuk mendukung telemedicine

Kementerian Kesehatan Masyarakat bergabung dengan Huawei Menandatangani perjanjian kerjasama teknis antara Departemen Layanan Medis dan Huawei untuk mengembangkan sistem 5G Healthcare, mendukung telemedicine, ambulans 5G, layanan cloud, menerapkan AI dari Big Data kesehatan, membantu diagnosis citra medis. dan membuatnya layanan medis berbasis pribadi melaju lebih cepat Mendukung metode medis baru Pada tanggal 22 September 2021 di Departemen Medis Kementerian KesehatanLanjutkanLanjutkan membaca “Telemedicine: MoPH-Huawei menandatangani kontrak untuk mengembangkan sistem 5G Healthcare untuk mendukung telemedicine”

Telemedicine: Apakah akan mengganggu rumah sakit atau tidak dan bagaimana caranya?

Sejak munculnya Covid-19, tren Telemedicine, atau adopsi teknologi sebagai alat untuk berkomunikasi antara profesional kesehatan dan pasien melalui konferensi video waktu nyata, semakin populer karena Telemedicine membantu orang Mereka yang ingin berbicara dengan dokter tetapi tidak ingin pergi ke rumah sakit, yang merupakan tempat di mana risiko infeksi meningkat, memiliki opsi untuk mengakses dokter saat masih diLanjutkanLanjutkan membaca “Telemedicine: Apakah akan mengganggu rumah sakit atau tidak dan bagaimana caranya?”

Menggunakan 5G di Industri Perawatan Kesehatan

Bagaimana hal itu akan membantu meningkatkan efisiensi perawatan kesehatan ke dimensi baru? • Koneksi data peralatan medis bergerak Perangkat yang dapat dipakai untuk kesehatan (Smart Wearable) dengan teknologi pemantauan kesehatan dasar. Kedepannya akan dikembangkan untuk mengakses lebih banyak wawasan seperti mengukur gula darah. Ukur EKG, yang 5G akan membantu mengirimkan sejumlah besar data kesehatan ini untuk terhubungLanjutkanLanjutkan membaca “Menggunakan 5G di Industri Perawatan Kesehatan”

Telemedicine telah tumbuh dan mendapatkan popularitas besar di banyak negara di seluruh dunia.

Kemajuan teknologi dan komunikasi dewasa ini telah membuat kemajuan kesehatan di banyak bidang,  teknologi telah merambah ke dalam prosedur dan proses pelayanan medis seperti tes diagnostik. Konsultasi, pembedahan, dll. Ketika ilmu kedokteran dipadukan dengan teknologi modern, maka akan menghasilkan pelayanan kesehatan masyarakat yang komprehensif. Lebih efisien dan efektif, lebih akurat Telemedicine atau telemedicine atau telemedicine  Ini mencakup penggunaan teknologi komunikasi untuk membawaLanjutkanLanjutkan membaca “Telemedicine telah tumbuh dan mendapatkan popularitas besar di banyak negara di seluruh dunia.”

Asisten perawatan kesehatan “Platform Telehealth”

“Platform Telehealth” yang membantu dalam perawatan kesehatan dan koneksi ke layanan kesehatan masyarakat. Kurangi pergi ke rumah sakit dan daerah berisiko dalam situasi wabah Covid-19, dengan aplikasi yang terbuka dan siap melayani banyak orang. Ayo lihat. Siapa yang takut atau ingin memeriksa apakah mereka berisiko? Anda dapat mencoba mengambil formulir penilaian risiko COVID-19. 1. Rumah Sakit Rajavithi :LanjutkanLanjutkan membaca “Asisten perawatan kesehatan “Platform Telehealth””

4 ต้นแบบแอปพลิเคชัน Telemedicine พัฒนาเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มากขึ้น

เพื่อให้เห็นภาพการปรับเอาระบบ Telehealth มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจริง ขอหยิบเอาต้นแบบ โครงการพัฒนาต้นแบบของเทคโนโลยีที่ช่วยในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินทางไกลในชนบท โดยผ่านเครือข่ายดิจิทัลความเร็วสูง (ระยะที่ 2) โดย มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโครงการความร่วมมือระหว่าง คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ รวมถึงหน่วยงานทางการแพทย์หลายหน่วยงานในจังหวัดพิษณุโลก โดยมี ศ.ดร.ไพศาล มุณีสว่าง คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหัวหน้าโครงการ “ระบบแพทย์ทางไกลที่ตอบโจทย์ คือ ระบบโทรศัพท์ทางไกล ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สามารถให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเชื่อมต่อ ให้คำปรึกษาได้ตลอดเวลา ปัจจุบัน ซึ่งเข้าสู่โครงการระยะที่ 2 มีโรงพยาบาลเข้าร่วมโครงการฯ และเชื่อมกับระบบประมาณ 289 แห่ง จากในระยะแรกมี 13 แห่ง แบ่งเป็น โรงพยาบาลในจังหวัดพิษณุโลก 157 แห่ง และโรงพยาบาลในจังหวัดสุโขทัย 132 แห่ง” การพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลนี้ ผ่านการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัญหาด้านการสื่อสาร การใช้และแก้ไขด้วยระบบเทคโนโลยี การเข้าถึงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญให้เหมาะสมทุกช่วงเวลา และพฤติกรรมส่วนใหญ่ของแพทย์ที่พร้อมให้คำปรึกษาแบบเร่งด่วนฉุกเฉิน ดังนั้น การผลักดันระบบแพทย์ทางไกลผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนเป็นสิ่งที่ตอบโจทย์ และด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารปัจจุบันและในอนาคตที่มีความรวดเร็วมากขึ้น ในระยะนี้เองได้ผลลัพธ์ที่เป็นแอปพลิเคชันต้นแบบ และเริ่มการใช้งานจริง 4 แอปพลิเคชัน ด้วยกัน ที่เข้ามารองรับลักษณะการใช้งานที่ต่างกันของ แพทย์LanjutkanLanjutkan membaca “4 ต้นแบบแอปพลิเคชัน Telemedicine พัฒนาเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มากขึ้น”

CareChek: Meluncurkan Platform Anti-Covid Seluler

Loxley Public Company Limited bersama dengan K2VC Company dan Mitra Bisnis IfYouCan Spesialis Aplikasi Seluler Meluncurkan platform seluler inovatif “CareChek” untuk membantu tempat kerja mengelola risiko infeksi COVID-19 secara proaktif dengan analisis hasil yang cepat dan akurat. Biarkan organisasi nirlaba menggunakannya secara gratis. mulai hari ini dan seterusnya CareChek adalah platform seluler untuk menilai risiko tertular COVID-19 secara individual,LanjutkanLanjutkan membaca “CareChek: Meluncurkan Platform Anti-Covid Seluler”

Telemedicine dengan rumah sakit di Thailand

Saat ini ada 2 rumah sakit di Thailand yang menyediakan perawatan medis menggunakan Telemedicine : Rumah Sakit Ao Luek Provinsi Krabi – mengandalkan sinyal telepon dan Internet dari Otoritas Komunikasi Thailand untuk mengirimkan informasi pasien.Rumah Sakit Mae Sariang Provinsi Mae Hong Son – menggunakan sistem siaran satelit Kedua lokasi tersebut digunakan melalui sistem konferensi video yang sama, yang keduanyaLanjutkanLanjutkan membaca “Telemedicine dengan rumah sakit di Thailand”

4 ชนิด Telemedicine ที่ได้รับความนิยมสูงสุด

ในอนาคตการรักษาทางการ การแพทย์จะเป็นสิ่งที่ง่าย ประหยัดเวลาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเป็นประโยชน์สำหรับผู้ป่วยและแพทย์ที่ไม่จำเป็นจะต้องอยู่แต่ภายในโรงพยาบาลอีกต่อไป การหาหมอผ่านจอ คอมพิวเตอร์ หรือ Telemedicine คือ การที่คนไข้ได้ปรึกษากับแพทย์ทั้งๆ ที่คนไข้อยู่บ้านและแพทย์เองอยู่ที่โรงพยาบาลเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง Telemedicine ที่ได้รับความนิยมสูงสุดมีอยู่ 4 ชนิด ได้แก่ 1. Teleradiology เป็น Telemedicine ที่นิยมนํามาใช้มากที่สุด โดยการส่งต่อ ภาพถ่ายทางรังสีหรือภาพเอกซเรย์แบบดิจิตอล จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเพื่อให้แปลผล วินิจฉัย และขอคำปรึกษา 2. Telepathology เป็น Telemedicine ในการส่งภาพชิ้นเนื้อจากกล้องจุลทรรศน์หรือส่งรายงานผลชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา เพื่อให้แปลผลวินิจฉัยหรือเพื่อขอปรึกษาความเห็นเพิ่มเติม 3. Teledermatology เป็น Telemedicine ในการส่งข้อมูลทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับโรคผิวหนังหรือ ความผิดปกติของผิวหนัง เพื่อให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคผิวหนังได้ทําการแปลผล วินิจฉัย หรือ เพื่อขอปรึกษาเพิ่มเติม 4. Telepsychiatry เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Telemedicine เพื่อการประเมินทางจิตเวช และการขอปรึกษาผ่านระบบวีดีโอและโทรศัพท์

Telemedicine จะมีผลอย่างไร ต่อ Medical tourism ของไทย

ปัจจุบัน นโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) จากภาครัฐทำให้เราได้เห็นชาวต่างชาติหลากหลายสัญชาติเดินทางเข้ามารักษาพยาบาลในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องด้วยไทยมีโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่ได้รับมาตรฐานสากลอย่างมาตรฐาน “คณะกรรมการร่วมรับรองมาตรฐานสถานพยาบาล (Joint Commission International-JCI)” มากถึง 64 แห่งในปีนี้ ซึ่งถือว่าสูงในลำดับต้นๆ ของภูมิภาคเอเชีย นอกจากนี้ ประเทศไทยก็ยังมีสินค้าและบริการที่ส่งเสริมสุขภาวะ (Wellness) มากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นการนวดแผนไทย สปา สินค้าสมุนไพรแปรรูป เป็นต้น ส่งผลให้นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสนใจเดินทางเข้ามาใช้บริการ ซึ่งก่อให้เกิดรายได้มหาศาลให้แก่ประเทศ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีการรักษาพยาบาลก็ไม่เคยหยุดพัฒนาเพื่อให้คนทุกคนสามารถเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพได้มากยิ่งขึ้น และลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากระยะทางที่ห่างไกลกันระหว่างผู้ป่วยและสถานพยาบาล จึงเป็นที่มาของระบบการรักษาทางไกล (Telemedicine) ที่ถือว่าเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ผู้ประกอบการไทยในสาขาที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ตอนหน้าพบกับความก้าวหน้าของ Telemedicine ในเยอรมนีซึ่งถือเป็นหนึ่งในประเทศต้นแบบที่มีพัฒนาการในเรื่องนี้มาอย่างยาวนาน และโอกาสในการที่จะต่อยอดการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทยthansettakij

Telemedicine คือ

Telemedicine คือ การนําเทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากร ทางการแพทย์สามารถพูดคุยตอบโต้กันได้แบบ Real-time เช่นเดียวกับการสื่อสารผ่านระบบ video conference ที่คู่สนทนาสามารถมองเห็นหน้าและสนทนากันได้ทั้ง 2 ฝ่าย

Telemedicine: ใกล้มือหมอ Application

ใกล้มือหมอ” คือ Application ที่มีรากฐานการพัฒนามาตั้งแต่ปี 2557 ผ่านองค์ความรู้ของแพทย์เฉพาะทางด้านต่าง ๆ ที่มีประสบการณ์การรักษาคนไข้มาไม่ต่ำกว่า 20 ปี ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้งานรู้สึกเหมือนกับว่ามีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญคอยดูแลอยู่ใกล้ๆ

Telemedicine: “เศรษฐพงค์” จี้ กสทช.-อีดี เร่งประมูล 5จี รองรับ

เมื่อวันที่ 5 ก.ย.62 ที่รัฐสภา มีการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ในวาระหารือ โดย พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย (ภท.) กล่าวว่า เรื่องที่ตนขอหารือนั้น เป็นเรื่องที่มีผลกระทบอย่างมากต่อยุทธศาสตร์ระดับชาติ และนโยบายของรัฐบาล โดยอาจจะมีผลกระทบต่อนโยบายสาธารณสุข การศึกษา เศรษฐกิจ และสังคมอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของสาธารณสุข ที่ นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.สาธารณสุข ได้มีนโยบายเร่งด่วนในการแก้ปัญหาระบบการให้บริการด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นปัญหาผู้ป่วยล้นโรงพยาบาล ปัญหาสังคมผู้สูงอายุ ที่กำลังจะเป็นปัญหาที่ใหญ่มากในประเทศไทย และจะนำไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ำ ในการเข้าถึงการรักษาพยาบาลอย่างทั่วถึง ด้วยเทคโนโลยี telemedicine ซึ่งจะต้องอาศัยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมที่ภาครัฐกำลังดำเนินการอยู่  พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ กล่าวต่อว่า เรื่องแรก คือ การติดตามโครงการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางอินเทอร์เน็ตในพื้นที่ห่างไกล หรือพื้นที่ชายขอบในโซน C+ จำนวน 3,920 หมู่บ้าน ซึ่งบริษัท ทีโอที (จำกัด) มหาชน (TOT) อยู่ภายใต้กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หรือกระทรวง DE เป็นผู้ดำเนินการLanjutkanLanjutkan membaca “Telemedicine: “เศรษฐพงค์” จี้ กสทช.-อีดี เร่งประมูล 5จี รองรับ”

5 ประโยชน์ของ Telemedicine

การให้บริการ Telemedicine (โทรเวชกรรม) ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และตัวผู้ป่วยเอง โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศกําลังพัฒนา เรามาดู 5 ประโยชน์ของ Telemedicine กัน ความประหยัดและคุ้มค่า โทรเวชกรรมสามารถลดค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยในการเดินทางไปรับการ รักษาจากแพทย์ที่โรงพยาบาลหรือคลินิค หรือในการปรึกษากับแพทย์เฉพาะด้าน สามารถลดค่าใช้จ่ายที่ต้องพักในโรงพยาบาล หรืออาจพักในโรงพยาบาล ในระยะเวลาที่สั้ นลง เพราะว่าผู้ป่วยสามารถรับการวินิจฉัยและบําบัด รักษาได้จากทางไกล หรือเมื่อออกจากโรงพยาบาลแล้ว แพทย์สามารถ ตรวจดูอาการได้จากที่พักของผู้ป่วย โดยไม่ต้องอยู่เพื่อดูอาการที่โรงพยาบาล ผู้ให้การบริการสามารถลดค่าใช้จ่ายได้โดยการรวมศูนย์ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ผู้ชํานาญการ ห้องทดลอง อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์อื่น ๆ เนื่องจากสิ่งเหล่านี้มีราคาค่อนข้างแพง ลดค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคลากรทางการแพทย์ ให้ทันสมัยเนื่อง จากแพทย์ผู้ฝึกสอนสามารถให้การฝึกสอนอบรมแก่บุคคลากรทางการ แพทย์ได้จากทางไกล รวมทั้งแพทย์สามารถเข้าสู่ฐานข้อมูลทางการ แพทย์ได้จากทุกที่ที่ การคมนาคมสื่อสารทางคอมพิวเตอร์ติดต่อได การฝึกอบรมและให้การศึกษา ทำให้เกิดการพัฒนาโดยรวมของการให้การบริการทางการแพทย์ โดยการรวมศูนย์ของทรัพยากรที่เกี่ยวของทางโทรเวชกรรม เกิดพัฒนาการของ แพทย์เฉพาะด้าน และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ จากการใช้ฐานข้อมูลทางการ แพทย์ระหว่างประเทศ จึงทําให้แพทย์หรือผู้เกี่ยวข้องมีความทันสมัยใน ข้อมูลอยู่เสมอ ประโยชน์ของ Telemedicine สังคมเศรษฐกิจLanjutkanLanjutkan membaca “5 ประโยชน์ของ Telemedicine”

Telemedicine: ดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล

การดูแลผู้ป่วยวิกฤต  ระหว่างการส่งตัวไปรักษาต่อยังโรงพยาบาล  เจ้าหน้าที่พยาบาลประจำรถพยาบาล ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ถูกต้อง และรวดเร็ว  โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หลายแห่ง จึงได้นำเทคโนโลยี Telemedicine มาใช้เพื่อดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล เทคโนโลยี “การดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาลด้วยการควบคุมจากระยะไกล” หรือ Telemedicine คือ การนำเทคโนโลยี มาใช้บริหารจัดการระบบ เปลี่ยนรถพยาบาลธรรมดาให้เป็น “รถพยาบาลอัจฉริยะ” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่บนรถพยาบาลและลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย โดยรถพยาบาลอัจฉริยะ จะได้รับการติดตั้ง  เครื่องส่งสัญญาณต่างๆ เช่น ความดันโลหิต ค่าออกซิเจนในเลือด อัตราการเต้นหัวใจ  GPS ระบุตำแหน่งรถ และตำแหน่งผู้ป่วย  กล้อง CCTV ติดตามภาพการรักษา   เมื่อรถพยาบาลอัจฉริยะไปรับผู้ป่วยวิกฤต แพทย์ประจำศูนย์สั่งการ สามารถติดตามข้อมูลผู้ป่วยที่ถูกส่งเข้ามา ได้ แบบ Real time  ช่วยให้คำปรึกษา แนะนำวิธีการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีก่อนถึงโรงพยาบาล เสมือนมีแพทย์ฉุกเฉินเดินทางไปในรถด้วย  ประโยชน์ของการนำระบบ Telemedicine มาดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล ประโยชน์ของการนำระบบ“การดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาลด้วยการควบคุมจากระยะไกล”  หรือ Telemedicine มาใช้ มีดังนี้  เพิ่มขีดความสามารถของรถพยาบาลระดับสูงให้สามารถรองรับผู้ป่วยวิกฤติได้อย่างมีประสิทธิภาพ แพทย์ประจำศูนย์สั่งการของโรงพยาบาลได้รู้ข้อมูลผู้ป่วยแบบ Real time ทำให้มีการรักษาอย่างถูกจุด ไม่ต้องเริ่มต้นใหม่เมื่อมาถึงโรงพยาบาล ช่วยลดอัตราตายและพิการได้ทางโรงพยาบาลได้ทราบข้อมูล ตำแหน่งของรถพยาบาลระหว่างปฏิบัติภารกิจ ทำให้สามารถควบคุมเส้นทางLanjutkanLanjutkan membaca “Telemedicine: ดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล”