副鼻腔炎 (Sinusitis)

副鼻腔(副鼻腔)は、鼻の周りの頭蓋骨の小さな空洞を意味し、鼻腔を開くには多くの方法があります。通常の状態では、鼻腔内の鼻腔内の穴に至る粘液の排液があり、水分を供給して鼻腔を洗浄します。しかし、これらの開口部が塞がれていると 感染症やアレルギーによる風邪(鼻粘膜や副鼻腔炎、腫れ)など鼻壁または鼻孔の腫瘍副鼻腔内の粘液が排出されないようにします。これらの粘液は鼻腔から副鼻腔に広がる細菌の増殖のための食物になり、粘液の機能を失い、より多くの粘液を作り出し蓄積する。副鼻腔炎の症状を引き起こす副鼻腔に閉じ込め膿になります

病気は急性(30日以内)、亜急性に分けられます(症状は30〜90日)および慢性(90日を超える症状)

副鼻腔炎はあらゆる年齢の人々に共通している病気であり、それはしばしばインフルエンザの合併症として見られる。特に成人よりも頻繁にインフルエンザにかかる機会が風邪、アレルギーの合併症であることもわかっている子供たち鼻炎鼻粘液ポリープ鼻壁根管は化膿性など

患者はアレルギー歴(風邪、アレルギー、喘息など)を有することがあります。家族のアレルギー性皮膚炎)

副鼻腔炎の症状

急性副鼻腔炎成人では、副鼻腔領域に痛みがあります(頭、目、額、頬骨、目の周りや目の周りの痛みなど)。一部の人は歯の上に歯痛があるように感じるかもしれません)片側または両側の痛みがあるかもしれません。頭を下げたり、姿勢を変えたりするとき

患者はしばしば鼻づまりを起こします。鼻の声を話す、鼻の粘液をする、黄色または緑を厚くするまたは鼻の後ろから首に向かって濃い黄色または緑色の痰が流れている待つか息を吐く必要があります

頭痛、発熱、脱力感、のどの痛み、耳痛、咳、臭いがする匂いや味覚が低下します。

子供では、症状は成人ほど明確ではありません。通常よりも長い風邪、すなわち粘液(透明または濃い)がある

39 cmを超える発熱など、通常よりもひどい風邪をひいている子供もいます。顔面の痛み目が覚めた後、目の周りの腫れに注意してください。

慢性副鼻腔炎90日以上にわたって毎日症状があることが多く、成人では鼻づまりの症状があります。鼻の後ろから首に流れる黄色いまたは緑色の濃い痰臭い息においの知覚の感覚は、ほとんどの場合に見られる熱や副鼻腔の痛みなしで、減少しました。急性副鼻腔炎

子供、咳、鼻水、くしゃみ、口臭上気道の感染症または中耳炎を繰り返す急性副鼻腔炎が1年に6回以上悪化し、毎回10日以上かかる人もいます。

การรักษา ไซนัสอักเสบ

1. ให้การรักษาตามอาการ เช่น ถ้าปวดหรือมีไข้ให้ยาแก้ปวดลดไข้ ถ้าคัดจมูกมากให้ยาแก้คัดจมูก อาจช่วยลดการบวมของเนื้อเยื่อที่อักเสบ และช่วยระบายหนองออกจากไซนัส

 ส่วนยาแก้แพ้ ไม่ควรให้ อาจทำให้เมือกในโพรงไซนัสเหนียง  ระบายออกได้ไม่ดี ยกเว้นในรายที่มีอาการของภูมิแพ้มาก เช่น จาม น้ำมูกมาก อาจให้เพียง 2-3 วันเพื่อบรรเทาอาการ

ควรแนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ สูดดมไอน้ำอุ่น และล้างจมูกด้วยน้ำเกลือนอร์มัลบ่อย ๆ เพื่อช่วยระบายหนอง

 2. ในรายที่เกิดจากแบคทีเรีย (น้ำมูกหรือเสมหะเป็นหนอง ปวดใบหน้า หายใจมีกลิ่นเหม็น หรือความรู้สึกในการรับรู้กลิ่นลดลง) ควรให้ยาปฏิชีวนะ เช่น อะม็อกซีซิลลิน อีริโทรไมซิน ร็อกซิโทรไมซิน หรือโรไตรม็อกซาโซล ถ้าตอบสนองต่อยอาการจะทุเลาหลังกินยา 48–72 ชั่วโมงในรายที่เป็นเฉียบพลัน ควรให้กินติดต่อกันนาน 10 – 14 วัน ในรายที่เป็นเรื้อรังควรให้นานอย่างน้อย 3 – 4 สัปดาห์ บางรายอาจนานถึง 12 สัปดาห์

 ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลังให้ยาปฏิชีวนะ 72 ชั่วโมง กำเริบบ่อยเป็นเรื้อรัง มีภาวะแทรกซ้อน หรือมีภูมิคุ้มกันต่ำ(เช่น เอดส์)ควรส่งโรงพยาบาลหรือปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ อาจต้องเอกซเรย์ไซนัส ตรวจอัลตราซาวนด์ถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) หรือเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ใช้กล้องส่งตรวจ (endoscopy) ทำการเจาะไซนัส (antral puncture) นำหนองไปตรวจหาชนิดของเชื้อ เป็นต้น

การรักษา  ถ้าพบว่ามีปัญหาเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะพื้นฐานดังกล่าว (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในรายที่มีการใช้ยาชนิดเดิมซ้ำหลายครั้ง) ก็จะเปลี่ยนไปใช้ยาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่ เช่น โคอะม็อกซิคลาฟ  ดอกซีไซคลีน ไซโพรฟล็อกซาซิน  อะซิโทรไมซิน (azithromycin) เซฟูร็อกไซม์ (cefuroxime) เป็นต้น

 ถ้ามีอาการรุนแรงหรือไม่ตอบสนองต่อยา แพทย์อาจทำการเจาะล้างโพรงไซนัส (antral irrigation)

 ในรายที่เป็นเรื้อรัง จำเป็นต้องตรวจหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุ และให้การรักษา เช่น โรคหวัดภูมิแพ้ โรคกรดไหลย้อน ติ่งเนื้อเมือกจมูก ผนังกั้นจมูกคด โรคทางทันตกรรม ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ (เช่น เบาหวาน เอดส์) เป็นต้น

 แพทย์จะพิจารณาทำการรักษาด้วยการผ่าตัดในรายที่ไม่ตอบสนอง ต่อยา หรือตรวจพบว่าเกิดจากเชื้อรา (ซึ่งอาจมีอันตรายร้ายแรงในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานหรือเอดส์ เช่น การติดเชื้อรุนแรง ในสมองหรือลูกตา เป็นต้น ส่วนผู้ที่มีภูมิคุ้มกันแข็งแรง เชื้อรามักทำให้มีอาการไซนัสอักแสบเรื้อรัง) หรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาหรือสมอง การผ่าตัดมีหลายวิธีรวมทั้งการผ่าตัดโดยวิธีส่องกล้องเข้าไปในโพรงไซนัส (endoscopic sinus surgery)

ผลการรักษา ในรายที่เป็นเฉียบพลัน หากได้รับการรักษาอย่างถูก้อตงตั้งแต่แรก มักจะได้ผลดี ส่วนในรายที่เป็นเรื้อรัง ผลการรักษาขึ้นกับการได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตั้งแต่แรกและการแก้ไขสาเหตุที่พบในรายที่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด มักจะได้ผลดีในการบรรเทาอาการและป้องกันภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง

การป้องกันไซนัสอักเสบ

 1. ผู้ที่มีอาการเป็นหวัด มีน้ำมูกหรือมีเสมหะในคอมีลักษณะข้นเหลืองหรือเขียว เป็นหวัดต่อเนื่องกันทุกวันนานผิดปกติ (เช่น นานเกิน  10 วัน) หรือเป็นๆ หายๆ เรื้อรัง ควรปรึกษาแพทย์  อาจเป็นอาการแสดงของโรคไซนัสอักเสบก็ได้

2. ในรายที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรัง หรือเป็นๆหายๆ บ่อย ควรแยกออกจากโรคหวัดภูมิแพ้ (ซึ่งจะมีอาการจาม คันคอ คันจมูก น้ำมูกใส  เป็นสำคัญ) และมะเร็งในโพรงไซนัส (ซึ่งจะมีอาการปวดไซนัสอย่างต่อเนื่อง และมักมีเลือดกำเดาไหลร่วมด้วย) นอกจากนี้ ผู้ป่วยที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรังมักมีสาเหตุอื่น ๆ ร่วมด้วยดังนั้น จึงควรส่งไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจสาเหตุและให้การรักษาตามสาเหตุ อาจช่วยให้ทุเลาได้

3. ผู้ที่เป็นไซนัสอักเสบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่เป็นเรื้อรัง ควรปฏิบัติตัวดังนี้

  • ดื่มน้ำมาก ๆ สูดดมไอน้ำอุ่น และล้างจมูกด้วยน้ำเกลือนอร์มัลบ่อย ๆ
  • หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ ควันบุหรี่ และมลพิษทางอากาศ
  • หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์  เนื่องจากจะทำให้เยื่อบุจมูก และโพรงไซนัสบวม
  • หลีกเลี่ยงการเดินทางโดยเครื่องบิน ในขณะที่เป็นไข้หวัด หวัดภูมิแพ้  หรือไซนัสอักเสบกำเริบ  ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้กินยาแก้คัดจมูก ได้แก่ สูโดเอฟีดรีน ครั้งละ 1-2 เม็ด ก่อนเดินทาง และซ้ำทุก 6 ชั่วโมง ระหว่างเดินทาง (ระยะไกล) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอุดกั้นของช่องระบายและรูเปิดไซนัส
  • หลีกเลี่ยงการว่ายน้ำในสระว่ายน้ำนาน ๆ เนื่องจากคลอรีนในสระว่ายน้ำ อาจทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุจมูกและโพรง ไซนัสได้
  • เมื่อเป็นไข้หวัด ควรดื่มน้ำมาก ๆ และสั่งน้ำมูกบ่อย ๆโดยสั่งออกทีละข้าง
  • ระวังอย่าให้เป็นไข้หวัด
  • กินยาตามที่แพทย์แนะนำและติดตามรักษากัลป์แพทย์อย่างต่อเนื่อง
  • ไม่ควรรักษากันเองตามแบบพื้นบ้าน เช่น ใช้สารกรดบางอย่างหยอดเข้าจมูก (ทำให้มีน้ำมูกไหลออกมามาก เพราะเกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุจมูก) อาจทำให้เกิดการอักเสบ และจมูกพิการได้
[Total: 0 Average: 0]