Welcome to Health Me Now
สุขภาพแข็งแรงและสุขภาพดี เป็นพื้นฐานสำคัญของการดูแลตัวเองสำหรับคนยุคใหม่ เพราะเมื่อเรามีสุขภาพแข็งแรงจะมีความพร้อมมากพอในการทำกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีคุณภาพ.
หางานพยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ผู้ดูแลผู้ป่วย/คนชรา นักกายภาพ
Follow Us
โรคภัยไข้เจ็บ
ประสาทและสมอง
ช่องปากและฟัน
ทางเดินระบบหายใจ
หัวใจ
ตา
หู คอ จมูก
ทางเดินอาหาร
กระดูก
ทางเดินปัสสาวะ
มะเร็ง
ต่อมไร้ท่อ
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจพิเศษต่างๆ
การตรวจทางเอกซเรย์
การตรวจหน้าที่เฉพาะของอวัยวะต่างๆ
การตรวจและการแปลผล
บล็อก
ข่าวสุขภาพ
โรงพยาบาล
ข่าวโรงพยาบาล
อาหารและโภชนาการ
สารบัญสุขภาพ
สารบัญโรค
สารบัญการรักษา
สารบัญยา (เวชกรรม)
Thai
简体中文
Bahasa
日本語
한국어
Русский
โรคภัยไข้เจ็บ
ประสาทและสมอง
ช่องปากและฟัน
ทางเดินระบบหายใจ
หัวใจ
ตา
หู คอ จมูก
ทางเดินอาหาร
กระดูก
ทางเดินปัสสาวะ
มะเร็ง
ต่อมไร้ท่อ
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจพิเศษต่างๆ
การตรวจทางเอกซเรย์
การตรวจหน้าที่เฉพาะของอวัยวะต่างๆ
การตรวจและการแปลผล
บล็อก
ข่าวสุขภาพ
โรงพยาบาล
ข่าวโรงพยาบาล
อาหารและโภชนาการ
สารบัญสุขภาพ
สารบัญโรค
สารบัญการรักษา
สารบัญยา (เวชกรรม)
Thai
简体中文
Bahasa
日本語
한국어
Русский
โรคภัยไข้เจ็บ
ประสาทและสมอง
ช่องปากและฟัน
ทางเดินระบบหายใจ
หัวใจ
ตา
หู คอ จมูก
ทางเดินอาหาร
กระดูก
ทางเดินปัสสาวะ
มะเร็ง
ต่อมไร้ท่อ
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจพิเศษต่างๆ
การตรวจทางเอกซเรย์
การตรวจหน้าที่เฉพาะของอวัยวะต่างๆ
การตรวจและการแปลผล
บล็อก
ข่าวสุขภาพ
โรงพยาบาล
ข่าวโรงพยาบาล
อาหารและโภชนาการ
สารบัญสุขภาพ
สารบัญโรค
สารบัญการรักษา
สารบัญยา (เวชกรรม)
Thai
简体中文
Bahasa
日本語
한국어
Русский
Top
สาเหตุ จอประสาทตาเสื่อม
Health Me Now
/
โรคภัยไข้เจ็บ
/
ตา
/
จอประสาทตาเสื่อม
/
สาเหตุ จอประสาทตาเสื่อม
สาเหตุ จอประสาทตาเสื่อม
อาการ จอประสาทตาเสื่อม
การรักษา จอประสาทตาเสื่อม
มีหลายภาวะที่เป็นต้นเหตุทำให้เกิดโรคจอประสาทตาเสื่อมได้ เช่น คนที่มีสายตาสั้นมากๆ (Degenerative or Pathologic Myopia) หรือโรคติดเชื้อบางชนิด แต่สาเหตุส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุ จึงเชื่อว่าเป็นขบวนการเสื่อมสภาพของร่างกาย (Aging Process) แต่ไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน ผลการศึกษาวิจัยจากหลายสถาบันพบว่า มีปัจจัยเสี่ยงหลายด้านที่ส่งผลต่อการเกิดโรคจอประสาทตาเสื่อมตามอายุ (Aged related macular degeneration) ได้แก่
อายุ
พบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในคนที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป
พันธุกรรม
มีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของคนที่เป็นโรคกับญาติสายตรง ผู้เกี่ยวข้องควรได้รับการตรวจเช็คจอประสาทตาทุกๆ 2 ปี
เชื้อชาติ/ เพศ
พบอุบัติการของโรคมากที่สุดในคนผิวขาว (Caucasian) เพศหญิง อายุมากกว่า 60 ปี
บุหรี่
มีหลักฐานทางการศึกษาพบว่า การสูบบุหรี่เป็นการเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอย่างชัดเจน
ความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยที่ต้องทานยาลดความดันเลือด และมีระดับของ
ไขมัน Cholesterol ในเลือดสูง
และระดับ Carotenoid ในเลือดต่ำ มีความเสี่ยงสูงมากต่อการเป็นโรคจอประสาทตาเสื่อมแบบสูญเสียการมองเห็นอย่างรวดเร็ว (Wet AMD)
วัยหมดประจำเดือน
ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนที่ไม่ได้รับประทานยาฮอร์โมน Estrogen พบว่าอยู่ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงเช่นกัน
[Total:
0
Average:
0
]
Share this:
LINE
Twitter
More
LinkedIn
Reddit
Tumblr
Pocket
Telegram
WhatsApp
Email
Send to Email Address
Your Name
Your Email Address
Cancel
Post was not sent - check your email addresses!
Email check failed, please try again
Sorry, your blog cannot share posts by email.