สาเหตุ หวาดระแวง

  • ปัญหาสุขภาพจิต
    • รู้สึกวิตกกังวล ซึมเศร้า
    • ความเชื่อมั่นในตัวเองต่ำ
    • เสี่ยงที่จะไม่ไว้ใจหรือหวาดระแวงผู้อื่น
  • ผลข้างเคียงจากการใช้ยาและสารเสพติด
    • อาการหลงผิดหรือหวาดกลัวว่าผู้อื่นจะมาทำร้าย
    • การใช้สารเสพติด เช่น กัญชา แอมเฟตามีน โคเคน แอลเอสดี เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น
    • สารเฟนไซคลิดีน (Phencyclidine) และสเตียรอยด์
  • โรคบุคลิกภาพผิดปกติแบบหวาดระแวง (Paranoid Personality Disorder)
    • ผู้ป่วยจะไม่ไว้ใจบุคคลรอบข้างง่าย ๆ
    • ผู้ป่วยโรคนี้มีอาการหวาดระแวงในระดับอ่อนที่สุดและสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ
    • หายเป็นปกติเมื่ออายุ 50 ปี
  • สิ่งแวดล้อมภายนอก
    • ผู้ที่อาศัยอยู่ในที่ห่างไกลจากผู้คนหรือชอบแยกตัวออกจากสังคม
    • มีแนวโน้มเกิดอาการหวาดระแวงมากขึ้น
    • การรับฟังข่าวสารเกี่ยวกับการฆาตกรรม การแบ่งแยกดินแดน
    • ส่งผลให้รู้สึกวิตกกังวลและระแวงผู้คนรอบตัว
  • โรคจิตหลงผิด (Delusional Disorder)
    • ภาวะที่มีความเชื่อหรือความคิดผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงเท่านั้น
    • คิดว่าตนเองป่วยทั้งที่ไม่ได้ป่วย
    • คิดว่ามีคนคอยปองร้าย
  • ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่พบเจอ
    • ผู้ที่เคยประสบเหตุการณ์เสี่ยงตาย
    • ต้องอยู่เพียงลำพัง หรือเผชิญสถานการ์ที่รู้สึกกดดันและเครียด
    • เช่น ถูกกลั่นแกล้งจากที่ทำงาน โจรขึ้นบ้าน เป็นต้น
  • โรคจิตเภทแบบหวาดระแวง (Paranoid Schizophrenia)
    • โรควิกลจริตชนิดหนึ่งที่ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่เชื่อหรือยอมรับความจริง
    • มีอาการประสาทหลอนหรือพฤติกรรมแปลก ๆ หากไม่ได้รับการรักษาจะใช้ชีวิตตามปกติไม่ได้
  • กลุ่มโรคจิตเวชที่มีอาการหวาดระแวงรุนแรงมากที่สุด
    • ภาวะพักผ่อนไม่เพียงพอ
    • การนอนน้อยมักกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัย
    • หวาดระแวง หรือมีอาการหลอนได้
  • ปัญหาสุขภาพกาย
[Total: 0 Average: 0]