การเจาะถุงหุ้มหัวใจ (Pericardiocentesis: PCC)

การเจาะช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (อังกฤษ: pericardiocentesis) คือ หัตถการทางการแพทย์ที่มักทำเพื่อระบายน้ำออกจากช่องเยื่อหุ้มหัวใจ

ภาวะที่จำเป็นต้องได้รับการเจาะช่องเยื่อหุ้มหัวใจ เช่น หัวใจถูกบีบรัด เป็นต้น

Pericardiocentesis คือ การเจาะระบายน้ำในเยื้อหุ้มหัวใจ (Pericardial effusion) ซึ่งเป็นของเหลวที่คนปกติพบได้น้อยกว่า 35 cc. เพื่อปกป้องและลดแรงเสียดทานขณะหัวใจเคลื่อนไหว (บีบคลายตัว) แต่ในรายที่มีความผิดปกติร่างกายจะสร้างของเหลวนี้มามากกว่าปกติ ซึ่งหากมากเกินไปอาจทำให้เกิดภาวะกดเบียดหัวใจ (Tamponade) โดยสังเกตได้จากขนาดของน้ำรอบๆ หัวใจ ภาพการคลายตัวของหัวใจ และการถูกกดของหัวใจโดยเฉพาะห้องบนขวา (RA collaping sign) ในอดีตใช้การตรวจร่างกาย CXR และ ECG ช่วยในการติดตามเท่านั้น แต่ปัจจุบันนิยมใช้ Echocardiography เป็น Routine เนื่องจากสะดวกและมี Sensitivity and Specificity กับโรคสูง เพิ่มความสะดวกปลอดภัย ซึ่งจัดเป็น Echo for guided procedure ซึ่งเป็นอีกหนึ่งประโยชน์ของ Echocardiography ที่ Advance ขึ้น

ผลลัพธ์ปกติที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนนี้จะสร้างปริมาณเล็กน้อยซึ่งถือว่าเป็น 0.3 – 1.7 ออนซ์ของของเหลว (ประมาณ 10-50 มล.) ของของเหลวโปร่งแสงซีดขาวเหลืองที่ไม่มีเลือดการติดเชื้อหรือความผิดปกติของเซลล์ ปริมาณของเหลวมากกว่า 1.7 ออนซ์ (ประมาณ 50 มล.) ที่ถูกระบายออกจากพื้นที่นั้นถือว่าผิดปกติและบ่งบอกถึงอาการที่รุนแรงมากขึ้น ส่งสำหรับการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการของเหลวอาจบ่งบอกถึงการมีอยู่ของเงื่อนไขต่าง ๆ รวมทั้งหัวใจล้มเหลวมะเร็งหรือโรคทางระบบบางอย่างเช่นโรคลูปัส

[Total: 2 Average: 3]