원격 의료: MoPH-Huawei는 원격 의료 지원을 위한 5G 의료 시스템 개발 계약에 서명했습니다.

보건부, 화웨이 합류 의료 서비스부와 화웨이는 5G 헬스케어 시스템 개발, 원격 진료, 5G 구급차, 클라우드 서비스 지원, 건강 빅데이터 AI 적용, 의료 영상 진단 지원을 위한 기술 협력 협약을 체결했다. 그리고 그것을 만들 개인 기반 의료 서비스가 더 빨라집니다. 새로운 의료 방법 지원 2021년 9월 22일 진료과에서 공중 보건부 Mr. Anutin Charnvirakul, 부총리 겸 공중 보건 장관 Somsak Ankasil 의료부 국장과”원격“원격 의료: MoPH-Huawei는 원격 의료 지원을 위한 5G 의료 시스템 개발 계약에 서명했습니다.” 계속 읽기

원격진료: 병원에 지장을 줄 것인가, 아니면 어떻게 할 것인가?

로 Covid-19, 원격 의료의 동향, 또는 실시간 화상 회의를 통해 의료 전문가와 환자 사이의 통신을위한 도구로 기술의 채택의 출현 이후, 인기가 성장하고 원격 진료는 사람들 의사와 상담 할 사람을 도움 그러나 감염 위험이 증가하는 병원에 가기를 원하지 않는 경우 집에 있는 동안 의사에게 진료를 받을 수 있는 옵션이 있습니다. 현재 태국에서는 온라인 의사컨설팅 사이트 치위(Chiwii), 의사의 손에서”원격진료:“원격진료: 병원에 지장을 줄 것인가, 아니면 어떻게 할 것인가?” 계속 읽기

4 ต้นแบบแอปพลิเคชัน Telemedicine พัฒนาเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มากขึ้น

เพื่อให้เห็นภาพการปรับเอาระบบ Telehealth มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจริง ขอหยิบเอาต้นแบบ โครงการพัฒนาต้นแบบของเทคโนโลยีที่ช่วยในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินทางไกลในชนบท โดยผ่านเครือข่ายดิจิทัลความเร็วสูง (ระยะที่ 2) โดย มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโครงการความร่วมมือระหว่าง คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ รวมถึงหน่วยงานทางการแพทย์หลายหน่วยงานในจังหวัดพิษณุโลก โดยมี ศ.ดร.ไพศาล มุณีสว่าง คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหัวหน้าโครงการ “ระบบแพทย์ทางไกลที่ตอบโจทย์ คือ ระบบโทรศัพท์ทางไกล ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สามารถให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเชื่อมต่อ ให้คำปรึกษาได้ตลอดเวลา ปัจจุบัน ซึ่งเข้าสู่โครงการระยะที่ 2 มีโรงพยาบาลเข้าร่วมโครงการฯ และเชื่อมกับระบบประมาณ 289 แห่ง จากในระยะแรกมี 13 แห่ง แบ่งเป็น โรงพยาบาลในจังหวัดพิษณุโลก 157 แห่ง และโรงพยาบาลในจังหวัดสุโขทัย 132 แห่ง” การพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลนี้ ผ่านการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัญหาด้านการสื่อสาร การใช้และแก้ไขด้วยระบบเทคโนโลยี การเข้าถึงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญให้เหมาะสมทุกช่วงเวลา และพฤติกรรมส่วนใหญ่ของแพทย์ที่พร้อมให้คำปรึกษาแบบเร่งด่วนฉุกเฉิน ดังนั้น การผลักดันระบบแพทย์ทางไกลผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนเป็นสิ่งที่ตอบโจทย์ และด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารปัจจุบันและในอนาคตที่มีความรวดเร็วมากขึ้น ในระยะนี้เองได้ผลลัพธ์ที่เป็นแอปพลิเคชันต้นแบบ และเริ่มการใช้งานจริง 4 แอปพลิเคชัน ด้วยกัน ที่เข้ามารองรับลักษณะการใช้งานที่ต่างกันของ แพทย์”4“4 ต้นแบบแอปพลิเคชัน Telemedicine พัฒนาเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มากขึ้น” 계속 읽기

CareChek: 모바일 Anti-Covid 플랫폼 출시

K2VC Company 및 IfYouCan 비즈니스 파트너와 함께하는 Loxley Public Company Limited 모바일 애플리케이션 전문가 신속하고 정확한 결과 분석으로 직장에서 코로나19 감염 위험을 선제적으로 관리할 수 있도록 혁신적인 모바일 플랫폼 ‘케어첵(CareChek)’을 출시했습니다. 비영리 단체에서 무료로 사용하도록 하십시오. 오늘부터 CareChek은 개별적으로 COVID-19에 감염될 위험을 평가하기 위한 모바일 플랫폼으로, 직장으로 유입되는 전염병의 위험을 관리하는 데 도움이 됩니다. 이 혁신은 예측 분석을 사용하여 직원이”CareChek:“CareChek: 모바일 Anti-Covid 플랫폼 출시” 계속 읽기

태국 병원과의 원격진료

현재 태국에는 원격 의료를 사용하여 치료를 제공하는 2개의 병원이 있습니다 . 아오룩 병원 크라비 지방 – 전화 신호와 태국 통신 당국의 인터넷에 의존하여 환자 정보를 전송합니다.매사랑병원 Mae Hong Son Province – 위성 방송 시스템 사용 두 위치 모두 호스트 병원인 동일한 화상 회의 시스템을 통해 사용됩니다. 그리고 고객을 책임지는 보건소 (현재 보건소는 부지구건강증진병원으로 개칭) 원격진료 및 사립병원 민간 부문을 위해 원격진료 시스템을”태국“태국 병원과의 원격진료” 계속 읽기

4 ชนิด Telemedicine ที่ได้รับความนิยมสูงสุด

ในอนาคตการรักษาทางการ การแพทย์จะเป็นสิ่งที่ง่าย ประหยัดเวลาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเป็นประโยชน์สำหรับผู้ป่วยและแพทย์ที่ไม่จำเป็นจะต้องอยู่แต่ภายในโรงพยาบาลอีกต่อไป การหาหมอผ่านจอ คอมพิวเตอร์ หรือ Telemedicine คือ การที่คนไข้ได้ปรึกษากับแพทย์ทั้งๆ ที่คนไข้อยู่บ้านและแพทย์เองอยู่ที่โรงพยาบาลเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง Telemedicine ที่ได้รับความนิยมสูงสุดมีอยู่ 4 ชนิด ได้แก่ 1. Teleradiology เป็น Telemedicine ที่นิยมนํามาใช้มากที่สุด โดยการส่งต่อ ภาพถ่ายทางรังสีหรือภาพเอกซเรย์แบบดิจิตอล จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเพื่อให้แปลผล วินิจฉัย และขอคำปรึกษา 2. Telepathology เป็น Telemedicine ในการส่งภาพชิ้นเนื้อจากกล้องจุลทรรศน์หรือส่งรายงานผลชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา เพื่อให้แปลผลวินิจฉัยหรือเพื่อขอปรึกษาความเห็นเพิ่มเติม 3. Teledermatology เป็น Telemedicine ในการส่งข้อมูลทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับโรคผิวหนังหรือ ความผิดปกติของผิวหนัง เพื่อให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคผิวหนังได้ทําการแปลผล วินิจฉัย หรือ เพื่อขอปรึกษาเพิ่มเติม 4. Telepsychiatry เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Telemedicine เพื่อการประเมินทางจิตเวช และการขอปรึกษาผ่านระบบวีดีโอและโทรศัพท์

Telemedicine จะมีผลอย่างไร ต่อ Medical tourism ของไทย

ปัจจุบัน นโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) จากภาครัฐทำให้เราได้เห็นชาวต่างชาติหลากหลายสัญชาติเดินทางเข้ามารักษาพยาบาลในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องด้วยไทยมีโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่ได้รับมาตรฐานสากลอย่างมาตรฐาน “คณะกรรมการร่วมรับรองมาตรฐานสถานพยาบาล (Joint Commission International-JCI)” มากถึง 64 แห่งในปีนี้ ซึ่งถือว่าสูงในลำดับต้นๆ ของภูมิภาคเอเชีย นอกจากนี้ ประเทศไทยก็ยังมีสินค้าและบริการที่ส่งเสริมสุขภาวะ (Wellness) มากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นการนวดแผนไทย สปา สินค้าสมุนไพรแปรรูป เป็นต้น ส่งผลให้นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสนใจเดินทางเข้ามาใช้บริการ ซึ่งก่อให้เกิดรายได้มหาศาลให้แก่ประเทศ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีการรักษาพยาบาลก็ไม่เคยหยุดพัฒนาเพื่อให้คนทุกคนสามารถเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพได้มากยิ่งขึ้น และลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากระยะทางที่ห่างไกลกันระหว่างผู้ป่วยและสถานพยาบาล จึงเป็นที่มาของระบบการรักษาทางไกล (Telemedicine) ที่ถือว่าเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ผู้ประกอบการไทยในสาขาที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ตอนหน้าพบกับความก้าวหน้าของ Telemedicine ในเยอรมนีซึ่งถือเป็นหนึ่งในประเทศต้นแบบที่มีพัฒนาการในเรื่องนี้มาอย่างยาวนาน และโอกาสในการที่จะต่อยอดการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทยthansettakij

Telemedicine คือ

Telemedicine คือ การนําเทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากร ทางการแพทย์สามารถพูดคุยตอบโต้กันได้แบบ Real-time เช่นเดียวกับการสื่อสารผ่านระบบ video conference ที่คู่สนทนาสามารถมองเห็นหน้าและสนทนากันได้ทั้ง 2 ฝ่าย

5 ประโยชน์ของ Telemedicine

การให้บริการ Telemedicine (โทรเวชกรรม) ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และตัวผู้ป่วยเอง โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศกําลังพัฒนา เรามาดู 5 ประโยชน์ของ Telemedicine กัน ความประหยัดและคุ้มค่า โทรเวชกรรมสามารถลดค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยในการเดินทางไปรับการ รักษาจากแพทย์ที่โรงพยาบาลหรือคลินิค หรือในการปรึกษากับแพทย์เฉพาะด้าน สามารถลดค่าใช้จ่ายที่ต้องพักในโรงพยาบาล หรืออาจพักในโรงพยาบาล ในระยะเวลาที่สั้ นลง เพราะว่าผู้ป่วยสามารถรับการวินิจฉัยและบําบัด รักษาได้จากทางไกล หรือเมื่อออกจากโรงพยาบาลแล้ว แพทย์สามารถ ตรวจดูอาการได้จากที่พักของผู้ป่วย โดยไม่ต้องอยู่เพื่อดูอาการที่โรงพยาบาล ผู้ให้การบริการสามารถลดค่าใช้จ่ายได้โดยการรวมศูนย์ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ผู้ชํานาญการ ห้องทดลอง อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์อื่น ๆ เนื่องจากสิ่งเหล่านี้มีราคาค่อนข้างแพง ลดค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคลากรทางการแพทย์ ให้ทันสมัยเนื่อง จากแพทย์ผู้ฝึกสอนสามารถให้การฝึกสอนอบรมแก่บุคคลากรทางการ แพทย์ได้จากทางไกล รวมทั้งแพทย์สามารถเข้าสู่ฐานข้อมูลทางการ แพทย์ได้จากทุกที่ที่ การคมนาคมสื่อสารทางคอมพิวเตอร์ติดต่อได การฝึกอบรมและให้การศึกษา ทำให้เกิดการพัฒนาโดยรวมของการให้การบริการทางการแพทย์ โดยการรวมศูนย์ของทรัพยากรที่เกี่ยวของทางโทรเวชกรรม เกิดพัฒนาการของ แพทย์เฉพาะด้าน และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ จากการใช้ฐานข้อมูลทางการ แพทย์ระหว่างประเทศ จึงทําให้แพทย์หรือผู้เกี่ยวข้องมีความทันสมัยใน ข้อมูลอยู่เสมอ ประโยชน์ของ Telemedicine สังคมเศรษฐกิจ”5“5 ประโยชน์ของ Telemedicine” 계속 읽기

Telemedicine: ดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล

การดูแลผู้ป่วยวิกฤต  ระหว่างการส่งตัวไปรักษาต่อยังโรงพยาบาล  เจ้าหน้าที่พยาบาลประจำรถพยาบาล ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ถูกต้อง และรวดเร็ว  โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หลายแห่ง จึงได้นำเทคโนโลยี Telemedicine มาใช้เพื่อดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล เทคโนโลยี “การดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาลด้วยการควบคุมจากระยะไกล” หรือ Telemedicine คือ การนำเทคโนโลยี มาใช้บริหารจัดการระบบ เปลี่ยนรถพยาบาลธรรมดาให้เป็น “รถพยาบาลอัจฉริยะ” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่บนรถพยาบาลและลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย โดยรถพยาบาลอัจฉริยะ จะได้รับการติดตั้ง  เครื่องส่งสัญญาณต่างๆ เช่น ความดันโลหิต ค่าออกซิเจนในเลือด อัตราการเต้นหัวใจ  GPS ระบุตำแหน่งรถ และตำแหน่งผู้ป่วย  กล้อง CCTV ติดตามภาพการรักษา   เมื่อรถพยาบาลอัจฉริยะไปรับผู้ป่วยวิกฤต แพทย์ประจำศูนย์สั่งการ สามารถติดตามข้อมูลผู้ป่วยที่ถูกส่งเข้ามา ได้ แบบ Real time  ช่วยให้คำปรึกษา แนะนำวิธีการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีก่อนถึงโรงพยาบาล เสมือนมีแพทย์ฉุกเฉินเดินทางไปในรถด้วย  ประโยชน์ของการนำระบบ Telemedicine มาดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล ประโยชน์ของการนำระบบ“การดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาลด้วยการควบคุมจากระยะไกล”  หรือ Telemedicine มาใช้ มีดังนี้  เพิ่มขีดความสามารถของรถพยาบาลระดับสูงให้สามารถรองรับผู้ป่วยวิกฤติได้อย่างมีประสิทธิภาพ แพทย์ประจำศูนย์สั่งการของโรงพยาบาลได้รู้ข้อมูลผู้ป่วยแบบ Real time ทำให้มีการรักษาอย่างถูกจุด ไม่ต้องเริ่มต้นใหม่เมื่อมาถึงโรงพยาบาล ช่วยลดอัตราตายและพิการได้ทางโรงพยาบาลได้ทราบข้อมูล ตำแหน่งของรถพยาบาลระหว่างปฏิบัติภารกิจ ทำให้สามารถควบคุมเส้นทาง”Telemedicine:“Telemedicine: ดูแลผู้ป่วยบนรถพยาบาล” 계속 읽기

Telemedicine: เร่งปฏิรูประบบสาธารณสุข

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย อดีต รองประธาน กสทช. จากการที่ นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรมว.สาธารณสุข มีนโยบายเร่งด่วนในการแก้ปัญหาผู้ป่วยล้นโรงพยาบาล และปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข โดยนายอนุทิน ได้มอบหมายให้พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย และยังควบตำแหน่งโฆษกของพรรคอีกด้วย ให้ช่วยงานผลักดันนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข คือ การปฏิรูประบบสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ระบบโทรเวชกรรม หรือ Telemedicine มาเป็นส่วนสำคัญในการดำเนินงาน พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ให้สัมภาษณ์ว่า กระทรวงสาธารณสุขถือว่า เป็นแหล่งรวบรวมแพทย์และบุคลากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ไว้มากมาย ซึ่งผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เป็นผู้ช่วยชีวิตผู้คนและเป็นวีรบุรุษที่เสียสละ และต้องทำการตอบสนองผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษา แต่ในปัจจุบันในประเทศไทยและในหลายๆประเทศทั่วโลก ล้วนประสบปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ ส่งผลให้มีจำนวนผู้ป่วยต่อแพทย์มากเกินไป ทำให้แพทย์มีเวลาในการดูแลผู้ป่วยไม่เพียงพอ ส่งผลให้ผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาต้องใช้เวลารอคอยเป็นเวลานานหลายชั่วโมง และแพทย์เองก็อาจมีความเสี่ยงที่จะตัดสินใจผิดพลาด เนื่องจากความเหนื่อยล้า พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ กล่าวว่า องค์การอนามัยโลกได้กำหนดค่าเฉลี่ยแพทย์ 1 คน ต่อจำนวนประชากร 439 คน แต่ประเทศไทยมีค่าเฉลี่ยแพทย์ 1 คน ต่อจำนวนประชากร 2,065″Telemedicine:“Telemedicine: เร่งปฏิรูประบบสาธารณสุข” 계속 읽기

Telemedicine: แพทยสภาเตรียมออกคู่มือชี้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยผู้ป่วย

แพทยสภาแจงระหว่างที่กำลังเตรียมออกคู่มือและแนวทางการให้คำปรึกษาทางไกล รวมถึงปรับปรุงกฏหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องการให้บริการโทรเวช (Telemedicine) ขอให้แพทย์ทุกท่านที่สนใจเข้าร่วมโครงการให้คำปรึกษาทางไกลต่างๆ โปรดใช้วิจารณญาณด้วยความรอบคอบ คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 สำนักงานเลขาธิการแพทยสภาได้ประกาศถึงข้อควรระวังในการให้บริการโทรเวช (Telemedicine) โดยระบุว่า ในยุคที่เทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด ตอบสนอง และโดนใจผู้ใช้งานอย่างมาก ทำให้มีผู้สนใจจำนวนมากหันมาเลือกพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อดำเนินการทางด้านการแพทย์ ในลักษณะของ โทรเวช หรือ Telemedicine ในแง่มุมต่างๆ ซึ่งอาจจะช่วยลดปัญหาความหนาแน่นของจำนวนผู้ป่วยในแต่ละวันในสถานพยาบาลของรัฐ ไม่ว่าจะในเขตเมืองหรือต่างจังหวัด ลดเวลาในการเตรียมตัว เดินทาง และรอคอยในการใช้บริการสุขภาพแต่ละครั้ง แนวคิดในการให้บริการทั้งภาครัฐและเอกขน ในบริการโทรเวช จะหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยในการที่แพทย์จะมีส่วนร่วมในฐานะผู้ให้บริการ ซึ่งจำเป็นต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย และแพทย์มีความรับผิดชอบเกี่ยวพันกับกฎหมายหลายฉบับ ขณะเดียวกัน แพทย์ที่ดำเนินการทางเวชกรรมผ่านระบบโทรเวช ก็มีความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการที่มิได้ทำการตรวจผู้ป่วยหรือขอคำปรึกษาโดยตรง ทำให้มีข้อจำกัดของข้อมูลในการให้คำปรึกษาปัญหาในการให้บริการโทรเวชดังกล่าว ถือเป็นความท้าทายของทุกประเทศที่ใช้ระบบโทรเวช แพทยสภาได้เล็งเห็นถึงประโยชน์และประเด็นที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่างมากต่อการเข้าใจผิดจากการสื่อสารที่มีข้อจำกัด ในการให้คำปรึกษาทางไกล จึงได้แต่งตั้งอนุกรรมการพิจารณาแนวทางการใช้สื่อสารสนเทศทางการแพทย์ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อทำให้มีความปลอดภัยและเกิดประโยชน์สูงสุดกับแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และผู้รับบริการหรือผู้ป่วย แต่เนื่องจากมีประเด็นที่ต้องพิจารณาหลากหลาย และมีหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องหลายหน่วยงานทำให้ต้องใช้เวลาในการพิจารณาเพื่อความรอบคอบ ในระหว่างที่แพทยสภากำลังจัดทำคู่มือและแนวทางการให้คำปรึกษาทางไกล รวมถึงปรับปรุงกฏหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง จึงขอให้แพทย์ทุกท่านที่สนใจเข้าร่วมโครงการให้คำปรึกษาทางไกลต่างๆ โปรดใช้วิจารณญาณด้วยความรอบคอบ

โรงพยาบาลกรุงเทพ: การนำ Telemedicine นวัตกรรมหุ่นยนต์มาใช้

การนำ Telemedicine นวัตกรรมหุ่นยนต์โทรเวชกรรม เข้ามาใช้ในโรงพยาบาลกรุงเทพว่า “โรงพยาบาลกรุงเทพ เป็นโรงพยาบาลชั้นนำ ที่ให้บริการโดยอาศัยหลัก “Advanced and Caring” คือ ความก้าวหน้าในการให้บริการทางการแพทย์ที่มีมาตรฐานสูงด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย กอปรกับความห่วงใยในการรักษาเพื่อดูแลผู้รับบริการดุจญาติมิตร เล็งเห็นว่าการเข้าถึงการรักษาอย่างทันท่วงทีมีผลดีต่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) ที่ต้องได้รับการรักษาหลังจากเกิดอาการภายใน 3 ชั่วโมง ROBODOCTOR คืออะไร จึงได้นำเทคโนโลยี ROBODOCTOR : Remote Presence System จากสหรัฐอเมริกา เข้ามาช่วยแพทย์ในการรักษาคนไข้ได้รวดเร็วขึ้น ซึ่งเทคโนโลยีนี้ได้ผ่านการรับรองมาตรฐานสากลทางการแพทย์และมีการใช้อย่างแพร่หลายในหลายมลรัฐ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนนาดารวมทั้งเอเซียและยุโรปประเทศต่างๆ อาทิเช่น จีน อินเดีย ไต้หวัน อังกฤษซึ่งจะทำให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสามารถเข้าถึงการรักษาไปยังโรงพยาบาลเครือข่ายได้ทันท่วงที และมั่นใจถึงความถูกต้อง และแม่นยำในการสื่อสารผ่านระบบ Remote Presence System และด้วยความห่วงใยในทุกรายละเอียดของการรักษาผู้ป่วยด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ อันเป็นการสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น ถือเป็นการวางรากฐานที่สำคัญในการขยายบริการไปสู่ระดับนานาชาติ สอดรับกับนโยบายของประเทศที่ต้องการให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการบริการด้านสุขภาพในภูมิภาคนี้ รูปแบบเทคโนโลยี Telemedicine ที่นำมาใช้ เทคโนโลยีที่ทางโรงพยาบาล นำมาใช้เรียกว่า เทคโนโลยี Remote Presence System”โรงพยาบาลกรุงเทพ:“โรงพยาบาลกรุงเทพ: การนำ Telemedicine นวัตกรรมหุ่นยนต์มาใช้” 계속 읽기