당뇨병은 Ziwilize의 노인 및 중년 성인에게 흔한 질병입니다.

당뇨병은 노년층과 중년층에게 흔한 질병입니다. 몸으로 인해 섭취하는 설탕을 모두 사용할 수 없습니다. 그래서 설탕은 혈액에 미친 것입니다. 혈액에 당이 많으면 소변으로 배설됩니다. 따라서 이러한 증상을 당뇨병(가벼운 것은 배뇨를 의미함)이라고 합니다. 증상 – 모든 성별에서 발견 4세 이상의 사람들에게 더 흔합니다. 잦은 갈증 피로 , 에너지 없음 – 더 많은 음식을 먹습니다. 그러나 체중 감소”당뇨병은“당뇨병은 Ziwilize의 노인 및 중년 성인에게 흔한 질병입니다.” 계속 읽기

CGM คืออะไร เกี่ยวกับเบาหวานอย่างไร

เครื่องวัดระดับน้ำตาลอย่างต่อเนื่องหรือ CGM ที่ย่อมาจาก Continuous Glucose Monitoring เริ่มเป็นที่รู้จัก และมีการใช้อย่างแพร่หลายในกลุ่มผู้ที่มีภาวะเบาหวาน โดยเฉพาะภาวะเบาหวานชนิดที่ 1 เครื่อง CGM เป็นเครื่องมือทางการแพทย์ที่ใชัวัดระดับน้ำตาล โดยการใช้เซนเซอร์เป็นแผ่นโลหะบางๆ ติดไว้ที่ชั้นใต้ผิวหนังบริเวณหน้าท้องหรือด้านหลังของต้นแขน เพื่อวัดระดับน้ำตาลจากของเหลวระหว่างเซลล์ โดยจะส่งค่าที่อ่านได้ไปยังเครื่องรับ จะแสดงค่าระดับน้ำตาลต่อเนื่องทุก 5 นาทีหรือ 288 ครั้งต่อวัน มีระบบแจ้งเตือนถ้าหากมีน้ำตาลสูงหรือต่ำเกินไป เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเบาหวานหรือผู้ดูแลสามารถแก้ไขได้ทัน เครื่อง CGM ในปัจจุบันสามารถใช้งานได้สะดวก สามารถวัดระดับน้ำตาลแบบ Real Time ตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน ทั้งตอนทานอาหาร หรือออกกำลังกาย ทำให้เราสามารถทราบค่าระดับน้ำตาลผ่านแอปพลิเคชันที่ติดตั้งบนโทรศัพท์มือถือได้ตลอดเวลา ทำให้การควบคุมภาวะเบาหวานเป็นเรื่องสะดวกสบายมากขึ้นกว่าเดิม ประโยชน์ของ CGM ทำให้ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีขึ้นผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 1 ที่ใช้เครื่อง CGM พบว่า สามารถควบคุมเบาหวานได้ดีขึ้นเมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้ใช้เครื่อง 👉ข้อมูลจากวารสารทางการแพทย์ JAMA ได้ตีพิมพ์งานวิจัยเรื่อง ผลของการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 1 ที่ใช้เครื่อง CGM (Effect of Continuous Glucose Monitoring”CGM“CGM คืออะไร เกี่ยวกับเบาหวานอย่างไร” 계속 읽기

당뇨병 : 이름의 유래

많은 사람들이 당뇨병을 잘 알고있을 것입니다. 하지만 왜이 질병을이 이름으로 부르는지 아십니까? Diabetes mellitus 는 수도관의 그리스어 인 Diabetes mellitus와 꿀처럼 단 것을 의미하는 mellitus에서 파생됩니다. 이것은 신체가 소변으로 배설해야하는 혈당이 너무 많기 때문입니다. 태국어로 과거에는 소변을 “가벼움”, 대변을 “무거움”이라고 불렀습니다. 그 소변은 달다. 요로에 대해서는 무엇입니까? 많이. 당뇨병이 장기간이면 실명, 신부전, 치매 또는 절단이 필요한 만성 상처로 이어질 것이라는 사실을 많은 사람들이 알고있는 것일까”당뇨병“당뇨병 : 이름의 유래” 계속 읽기

당뇨병: 부모가 알아야 할 조용한 위험

부모 여러분, 많은 분들이 어린이 당뇨병  이 어린이에게 발생 한다는 것을 예상하지 못했을 수도 있습니다. 당뇨병 은 “제1형 당뇨병”이 인슐린 결핍으로 인해 발생합니다. 유전적 장애입니다. 결과적으로 췌장 세포가 파괴됩니다. 만 1세 미만에서 발견 가능하며, 부모는 다음과 같이 동생의 증상을 관찰할 수 있습니다. 잦은 배뇨물을 많이 마시다살은 빼지 만 잘 먹고놀거나 활동하는 힘이 감소하는 것 같습니다.어떤 사람들은 과일 냄새가 나는 호흡을 할 수 있습니다. 높은 혈액”당뇨병:“당뇨병: 부모가 알아야 할 조용한 위험” 계속 읽기

당뇨병 : 4 가지 유형 .. 어떤 유형이 치료되기를 바랄 수 있는지.

제 1 형 당뇨병이 유형의 당뇨병은 치료할 수 없습니다. 대부분의 어린이나 30 세 미만의 청소년에게서 발견됩니다. 췌장은 종종 인슐린을 만들 수 없습니다. 인슐린 주사로 치료해야합니다. 인슐린이 부족하면 혈중 고당과 케톤 산증으로 인해 의식을 잃게됩니다. 태국에서는 제 1 형 당뇨병 환자의 3.4 %가 발견되었습니다. 이러한 유형의 당뇨병은 치료할 수 없습니다. 그러나 증상이 악화되거나 합병증을 예방하고 통제하십시오. 제 2 형”당뇨병“당뇨병 : 4 가지 유형 .. 어떤 유형이 치료되기를 바랄 수 있는지.” 계속 읽기

4가지 유형의 당뇨병은 어떻게 시작되었습니까?

인슐린은 혈액에서 설탕을 가져오는 영웅입니다.세포 속으로 인슐린이 저하되거나 잘 작동하지 않는 경우고혈당이 되고 결과는 “당뇨병”.4가지 유형의 당뇨병은 어떻습니까? 시작은 어떻게 되었습니까? 우리가 이 질병의 목표입니까?.각 그림을 동시에 읽으려면 클릭하십시오. 제1형 당뇨병 소아 및 청소년(30세 이하)의 당뇨병 및 종종 마른 체형 신체의 면역 방어에 의해 파괴된 췌장 세포에 의해 발생합니다.결과적으로 인슐린 생산이 줄어들고 결국 인슐린이 부족하게 됩니다. 이 때문에”4가지“4가지 유형의 당뇨병은 어떻게 시작되었습니까?” 계속 읽기

คนไทยป่วยเบาหวาน แตะ 4.8 ล้านคน คาดปี 2583 ป่วย 5.3 ล้านคน

เชื่อหรือไม่!! ปัจจุบันคนไทยวัยผู้ใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวานสูงถึง 4.8 ล้านคน และมักเกิดภาวะแทรกซ้อนเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ซึ่งมีสาเหตุที่มาจากวิถีชีวิต และในจำนวนนี้มีผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและดูแลรักษาเพียงร้อยละ 35.6 หรือเพียง 2.6 ล้านคน บรรลุเป้าหมายในการรักษาได้เพียง 0.9 คน ถือว่าน้อยมาก ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในเมืองไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน นอกจากนี้ยังมีการคาดการณ์ว่า อันตราโรคเบาหวานจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 5.3 ล้านคนภายในปี 2583 ถ้าหากเราไม่เริ่มดูแลตัวเอง หรือผู้ป่วยดูแลรักษาตัวเองได้ไม่ดี ไม่เคร่งครัดมากพอ อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคไต และการถูกตัดเท้าหรือขาได้

เบาหวาน: สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ ประเมินทั่วโลกมีผู้ป่วย 425 ล้านราย

ข้อมูลจากสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (IDF: International Diabetes Federation) ในปี พ.ศ. 2560 มีการประเมินว่ามีผู้ป่วยเบาหวาน รวม 425 ล้านรายทั่วโลก แบ่งเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป จำนวน 98 ล้านราย และช่วงอายุ 20-64 ปี จำนวน 327 ล้านราย และคาดการณ์ว่าในปีพ.ศ. 2588 จะมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 629 ล้านรายทั่วโลก โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป จำนวน 191 ล้านราย หรือมีอัตราการเพิ่มอยู่ที่ร้อยละ 94.8 และในช่วงอายุ 20-64 ปี จำนวน 438 ล้านราย หรือมีอัตราการเพิ่มอยู่ร้อยละ 33.9 ซึ่งจะเห็นได้ว่าอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวานในกลุ่มผู้สูงอายุจะสูงกว่าช่วงวัยทำงาน โดยปัจจัยหนึ่งมาจากทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จึงทำให้ประชากรมีอายุเฉลี่ยยืนยาวขึ้น ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์ นายกสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ ได้กล่าวถึงภาพรวมสถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทย รวมถึงให้โรงพยาบาล ทีมแพทย์และพยาบาลร่วมกันคิดวิเคราะห์และหาแนวทางรักษาผู้ป่วยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อช่วยลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน เนื่องด้วยปัจจุบันอุบัติการณ์โรคเบาหวานยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง”เบาหวาน:“เบาหวาน: สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ ประเมินทั่วโลกมีผู้ป่วย 425 ล้านราย” 계속 읽기

เบาหวาน: ไทยป่วยพุ่งสูงต่อเนื่อง แตะ 4.8 ล้านคน คาดถึง 5.3 ล้านคนในปี 2583

ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์ นายกสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย และประธานคณะกรรมการเครือข่ายคนไทยไร้พุง กล่าวว่า ปัจจุบันประชากรไทยวัยผู้ใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวานถึง 4.8 ล้านคน และมักเกิดภาวะแทรกซ้อนเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ซึ่งสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคมาจากวิถีชีวิตแบบเนือยนิ่ง โรคอ้วน และอายุที่มากขึ้น ในจำนวนนี้มีผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและดูแลรักษาเพียงร้อยละ 35.6 หรือเพียง 2.6 ล้านคน บรรลุเป้าหมายในการรักษาได้เพียง 0.9 คน ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในเมืองไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน คาดการณ์ว่าความชุกของโรคเบาหวานจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 5.3 ล้านคนภายในปี 2583 ซึ่งหากดูแลรักษาได้ไม่ดีอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคไต และการถูกตัดเท้าหรือขา นอกจากนี้พบว่า เบาหวานที่เกิดในวัยรุ่น วัยหนุ่มสาว และผู้ใหญ่วัยต้นนั้น มีข้อมูลชี้ชัดว่าโรคมีความรุนแรงกว่าเบาหวานที่เกิดในวัยกลางคนและผู้สูงอายุ รวมถึงตอบสนองต่อการรักษาได้น้อยกว่า นำไปสู่การเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ อย่างรวดเร็วและรุนแรงกว่า สร้างความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นกลุ่มประชากรในวัยทำงาน “เยาวชนที่เป็นเบาหวานตั้งแต่วัยเด็กเล็กและวัยเรียน จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด เพื่อผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ แต่อุปกรณ์ดังกล่าวไม่ครอบคลุมอยู่ในรายการของสำนักง่านหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และมีค่าใช้จ่ายอยู่ราว 13,000 ต่อปี ทำให้ครอบครัวของผู้ป่วยที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์นี้ได้ หลายหน่วยงานจึงได้ร่วมมือจัดกิจกรรมระดมทุนช่วยเหลือเยาวชนกลุ่มนี้ที่มีอยู่ราว 100,000 คน ในประเทศไทย””เบาหวาน:“เบาหวาน: ไทยป่วยพุ่งสูงต่อเนื่อง แตะ 4.8 ล้านคน คาดถึง 5.3 ล้านคนในปี 2583” 계속 읽기

เบาหวาน: ปัญหาที่ไม่เบาเหมือนชื่อ จับตากลุ่มเด็ก-วัยทำงานมีพฤติกรรมเสี่ยง

ณ วันนี้คนไทยได้ตระหนักถึงพิษภัยของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs กันมากขึ้น “เบาหวาน” เป็นอีกหนึ่งในกลุ่มโรค NCDs และมีแนวโน้มว่าขึ้นไทยจะป่วยด้วยโรคเบาหวานกันมากขึ้น และมีคนอีกจำนวนหนึ่งยังไม่รู้ตัวว่าป่วย จึงทำให้พลาดโอกาสในการรักษา ซึ่งกว่าจะรู้ตัวก็อาจจะสายไปแล้ว แต่ถ้าวันนี้เรากลับตัวกลับใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จะเท่ากับว่า เราสามารถลดโอกาสของการเกิดโรคเบาหวานได้เช่นกัน ในวันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี ได้ถูกกำหนดให้เป็นวันเบาหวานโลก และธีมของวันเบาหวานโลกใน ปี 2561-2562 คือ “The Family and Diabetes” เพราะครอบครัวเป็นส่วนสำคัญในการรักษาเบาหวาน ส่วนประเทศไทยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) จับมือสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย เครือข่ายคนไทยไร้พุง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) และสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร จัดงานแถลงข่าววันเบาหวานโลก 2562 World Diabetes Day Thailand 2019ภาคีเร่งหามาตรการและจัดกิจกรรมส่งเสริม และลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ ด้วยการจัดภารกิจ Together Fight Diabetes เบาหวาน = กิจกรรมทางกายที่ไม่เหมาะสม นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส. กล่าวว่า เบาหวานเป็นหนึ่งในโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ”เบาหวาน:“เบาหวาน: ปัญหาที่ไม่เบาเหมือนชื่อ จับตากลุ่มเด็ก-วัยทำงานมีพฤติกรรมเสี่ยง” 계속 읽기

วันเบาหวานโลก: กำเนิด 14 พ.ย.

ทุกวันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี สหพันธ์เบาหวานนานาชาติ และองค์การอนามัยโลก ได้กำหนดให้เป็นวันเบาหวานโลก โดยเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2534 ซึ่งการกำหนดวันดังกล่าวขึ้นมาเพื่อต้องการให้ประชาชนทั่วโลกตระหนักถึงอันตรายของโรคเบาหวานที่มีแนวโน้มพบผู้ป่วยสูงขึ้นทุกปี และเพื่อเป็นการระลึกถึง และเป็นวันเกิดของของเฟรเดอริก แบนติง ผู้ ร่วมกับชาร์ลส์ เบสต์ เป็นคนแรกที่เข้าใจแนวคิดซึ่งนำไปสู่การค้นพบอินซูลินใน พ.ศ. 2465 สำหรับประวัติของ เฟรเดอริก แกร์นท์ แบนติง (Sir Frederick Grant Banting, KBE, MC, MD, FRSC – 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484) นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชาวแคนาดา แพทย์และผู้ได้รับรางวัลโนเบลจากการร่วมเป็นผู้ค้นพบอินซูลิน เกิดที่เมืองอัลลิสตัน ออนทาริโอ ประเทศแคนาดา หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโทรอนโต เมื่อ พ.ศ. 2459 ได้เข้ารับราชการทหารหน่วยการแพทย์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และได้รับไม้กางเขนระหว่างสงคราม หลังสงครามได้กลับประเทศและเข้ารับการฝึกหัดเป็นศัลยแพทย์กระดูกที่โรงพยาบาลเด็กในโทรอนโตระหว่างปี พ.ศ. 2462 – พ.ศ.”วันเบาหวานโลก:“วันเบาหวานโลก: กำเนิด 14 พ.ย.” 계속 읽기

7 당뇨병 합병증

방치하거나, ​​치료를 받지 않거나, 제대로 관리하지 않는 당뇨병 환자에게 흔히 발생합니다. 합병증은 급성(예: 정전, 심각한 감염) 및 만성일 수 있습니다. 만성 합병증 장기간 혈당 수치가 조절되지 않는 환자에게 주로 발생합니다. (어떤 사람들에게는 5년에서 10년이 걸릴 수 있음) 크고 작은 동맥이 모두 경화되고 좁아집니다. 그 결과 많은 기관(예: 눈, 신장, 신경계, 발, 뇌, 심장)에 혈액 공급이 부족합니다. 이러한 기관을 손상, 장애”7“7 당뇨병 합병증” 계속 읽기