ต้องเจออะไรบ้างในช่วงฟื้นตัวจากภาวะขาหัก

การรักษาภาวะขาหักอาจใช้เวลาหลายสัปดาห์ถึงหลายเดือน ระยะเวลาในการพักฟื้นจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการบาดเจ็บ และวิธีการดูแลตัวเองของผู้ป่วยภาวะกระดูกหักตามแพทย์สั่ง หากใส่เฝือกอยู่ แพทย์อาจแนะนำให้ใช้ไม้ค้ำยันหรือไม้เท้า เพื่อรักษาน้ำหนักตัวไม่ให้ทิ้งลงที่ขาข้างที่หักเป็นเวลา 6 ถึง 8 สัปดาห์หรือนานกว่านั้น หากใส่โลหะยึดตรึงกระดูกรยางค์ภายนอก แพทย์มักถอดออกหลังจากใส่ประมาณ 6 ถึง 8 สัปดาห์ ในช่วงพักฟื้นนี้ อาการปวดอาจมีโอกาสหยุดหรือหายใปก่อนที่กระดูกที่หักจะกลับมาแข็งแรงพอที่จะทำกิจกรรมอื่น ๆ ได้ตามปกติ หลังจากถอดเฝือกหรืออุปกรณ์ยึดกระดูกต่าง ๆ แล้ว แพทย์อาจแนะนำให้จำกัดการเคลื่อนไหวจนกว่ากระดูกจะแข็งแรงพอที่จะกลับไปทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ หากแพทย์แนะนำให้ทำกายภาพบำบัดและออกกำลังกาย การรักษาอาจใช้เวลาหลายเดือนหรือนานขึ้น ในกรณีที่มีการแตกหรือหักอย่างรุนแรง ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ปัจจัยดังต่อไปนี้อาจส่งผลต่อการฟื้นตัวของกระดูก: อายุของผู้ป่วยกระดูกแตกหรือหักการบาดเจ็บอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดภาวะขาหักการติดเชื้อโรคประจำตัวหรือภาวะอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับภาวะขาหัก เช่น  โรคอ้วน  การดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป  โรคเบาหวาน  การสูบบุหรี่ การขาดสารอาหาร ฯลฯ หากคิดว่าหรือรู้ว่า ตัวเองมีภาวะกระดูกขาแตกหัก ให้รีบพบแพทย์ทันที ภาวะขาหักและการใช้เวลาพักฟื้นที่นานจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อความคล่องตัวและการใช้ชีวิตตามปกติของผู้ป่วย อย่างไรก็ตาม เมื่อได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีและเหมาะสม ผู้ป่วยมักจะกลับมาทำงานได้ตามปกติ ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากภาวะขาหัก ผู้ป่วยที่มีภาวะขาหักอาจพบภาวะแทรกซ้อนระหว่างและหลังกระบวนการรักษา เช่น : กระดูกอักเสบ  (เกิดการติดเชื้อที่กระดูก)เส้นประสาทถูกทำลายจากกระดูกแตกและได้รับบาดเจ็บที่เส้นประสาทความเสียหายของกล้ามเนื้อจากการที่กระดูกแตกใกล้กับกล้ามเนื้อข้างเคียงอาการปวดข้อเป็นภาวะแทรกซ้อนจาก  โรคข้อเข่าเสื่อม  ที่มีต่อเนื่องเป็นเวลานาน จากการเรียงตัวของกระดูกที่ไม่ดีในระหว่างขั้นตอนการรักษา

Office Syndrome: Penyakit Penakluk Modifikasi Perilaku Kecil

Jika Anda bertanya apakah ada yang pernah mengalami sakit leher , sakit bahu , sakit punggung , pekerja kantoran muda mungkin akan mengangkat tangan. Karena gejala-gejala tersebut sudah menjadi bagian dari kehidupan sehari-hari para pekerja. Dapat dilihat bahwa teman-teman kita di tempat kerja sering mengeluh bahwa “punggung saya hari ini sangat sakit. Saya perlu dipijat.” Atau mungkin leher dan bahu saya kaku, yang sebenarnya merupakanLanjutkanLanjutkan membaca “Office Syndrome: Penyakit Penakluk Modifikasi Perilaku Kecil”

Warna kuku Anda mengatakan lebih dari yang Anda pikirkan.

Kuku adalah bagian tubuh yang merupakan lempeng yang menutupi ujung jari tangan dan kaki. Kuku tumbuh lebih panjang dan lebih panjang, dan karena kuku mengeras secara berbeda dari kulit bagian tubuh lainnya. oleh karena itu kita harus memotongnya Kuku berhubungan dengan kesehatan. di mana kita bisa memeriksa kesehatan kita dari penampilan kuku yang jika kita amati disini Ini akan membantuLanjutkanLanjutkan membaca “Warna kuku Anda mengatakan lebih dari yang Anda pikirkan.”

“Tendon Achilles” adalah nama yang tidak asing lagi kita dengar.

Dalam berita olahraga tentang cedera pesepakbola, pelari atau atlet lainnya, tetapi di mana itu? Jadi seberapa penting bagi tubuh kita? Ayo cari jawabannya! “Achilles Tendon” atau (ACHILLES TENDINITIS) adalah tendon terbesar di tubuh. Hubungkan otot betis ke tumit. Ini sangat penting untuk berjalan, berlari, dan melompat. Jika tendon sangat kencang atau ada banyak ketegangan pada tendon, dapat menyebabkan peradangan.Pelari atauLanjutkanLanjutkan membaca ““Tendon Achilles” adalah nama yang tidak asing lagi kita dengar.”

5 pose mudah untuk memperbaiki bahu yang terbungkus

Pose pertama: berdiri tegak dengan bahu terangkat dan diturunkan. Mari kita berdiri tegak, turunkan tangan di samping dengan nyaman,lalu angkat bahu ke atas dan ke bawah sekitar 10kali.Saat mengangkat, tahan hitungan 1-5 dan lepaskansebelum mengangkat lagi. Langkah 2: Rentangkan tangan Anda dan putar tangan Anda ke depan dan ke belakang. berdiri tegak dengan punggung lurus rentangkanLanjutkanLanjutkan membaca “5 pose mudah untuk memperbaiki bahu yang terbungkus”

5 พฤติกรรมที่ทำให้ปวดหลังโดยไม่รู้ตัว

เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกาย เนื่องมาจากอาการปวดหลังไม่ได้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเท่านั้น แต่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย ยิ่งบางคนอาจทำไปโดยไม่รู้ตัวด้วยซ้ำและพฤติกรรมเหล่านี้สามารถทำร้ายกระดูกสันหลังและร่างกายของเราได้ 1. นั่งหรือยืนหลังค่อมเป็นประจำ ทุกๆคนต้องเคยนั่งหรือยืนหลังค่อม ซึ่งต้องบอกว่าเป็นพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการโค้งงอของกระดูกและอาจทำให้กล้ามเนื้อเกร็งจะทำให้ปวดเมื่อยอยู่บ่อยๆ 2. นั่งไขว่ห้างเป็นเวลานาน การนั่งไขว่ห้างเป็นเวลานานอาจส่งผลให้ขาข้างใดข้างหนึ่งเกิดการกดทับ ยิ่งหากทำบ่อยๆจะส่งผลถึงกระดูกสันหลังและอุ้งเชิงกรานได้ 3. แบกหรือก้มยกของหนักๆ การก้มหรือแบกของหนักๆ จะทำให้ร่างกายต้องออกแรงมาก อีกทั้งถ้าแบกของเป็นเวลานานจะยิ่งรับน้ำหนักมากขึ้นเท่านั้นและจะส่งผลต่อกระดูกสันหลังนั่นเอง 4. สะพายกระเป๋าหนักเป็นประจำ การที่เราสะพายกระเป๋าหนักบ่อยๆจะทำให้ไหล่รับน้ำหนักเยอะ ส่งผลให้เกิดอาการปวดไหล่ ร่างกายยังต้องเอียงไปด้านตรงกันข้ามกับน้ำหนักเพื่อรักษาสมดุล นั่นเลยทำให้เกิดอาการปวดหลังได้ 5. นอนคว่ำเป็นประจำ การนอนคว่ำทำให้เราต้องแอ่นหลังเป็นเวลานานหลายชั่วโมง ซึ่งจะส่งผลให้เกิดอาการปวดหลัง อีกทั้งยังส่งผลกระทบไปยังเอวอีกด้วย หากใครมีพฤติกรรมตามที่ยกตัวอย่างมา แนะนำให้ลดการกระทำเหล่านี้ลงเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น The Ozone Clinic