ภาวะง่วงงุน

ภาวะความเหน็ดเหนื่อยที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ความสามารถในการควบคุมจิตใจ และแรงจูงใจที่ลดลงสาเหตุทั่วไปของอาการนี​​้้ความเหนื่อยล้าอาจมีสาเหตุที่ไม่ได้มาจากโรคพื้นเดิม ตัวอย่างเช่น การนอนไม่พอ การออกกำลังอย่างหนัก (มากกว่าปกติ) ในระหว่างวัน การออกกำลังกาย การรับประทานอาหารมาก การตั้งครรภ์ การมีอายุมากขึ้น หรือผลข้างเคียงของยาการรักษาด้วยตนเองการพักผ่อน การลดความเครียด การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และการดื่มน้ำมากๆ อาจช่วยลดความเหนื่อยล้าได้มองหาการดูแลทางการแพทย์ไปพบแพทย์ในกรณีต่อไปนี้

  • เป็นต่อเนื่องนานตั้งแต่ 2 สัปดาห์ขึ้นไปแม้จะดูแลรักษาตัวเองแล้ว
  • น้ำหนักลด
  • รู้สึกซึมเศร้า
  • ไม่สนใจกิจกรรมต่างๆ

ไปพบแพทย์ทันทีในกรณีต่อไปนี้

โรคนอนไม่หลับ

ปัญหาเรื้อรังในการนอนหลับและการหลับให้สนิท
การแสดงอาการ
นอนไม่หลับ
อาการง่วงตอนกลางวัน
อาการซึมเศร้า

โรควิตกกังวล

อาการทางจิตที่มีลักษณะกังวล วิตกกังวล หรือหวาดกลัวมากเกินไปจนส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย
การแสดงอาการ
ความวิตกกังวลจนเกินเหตุ
มีความคิดที่ไม่ได้ตั้งใจคิด
หายใจไม่อิ่ม

โรคซึมเศร้า

ความผิดปกติทางจิตที่มีอาการเด่นคือ มีภาวะซึมเศร้าตลอดเวลาหรือไม่สนใจทำสิ่งต่างๆ ซึ่งทำให้บกพร่องต่อหน้าที่ในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก
การแสดงอาการ
อาการซึมเศร้า
คิดซ้ำไปซ้ำมา
ทำร้ายตนเอง

โรคหยุดหายใจขณะหลับ

ความผิดปกติด้านการนอนที่ร้ายแรงโดยจะหยุดหายใจเป็นช่วงๆ
การแสดงอาการ
หยุดหายใจเป็นช่วงๆ
การกัดฟัน
ภาวะอดนอน

โรคลมหลับ

ความผิดปกติด้านการนอนเรื้อรังที่ก่อให้เกิดการง่วงนอนอย่างรุนแรงในตอนกลางวัน
การแสดงอาการ
อาการง่วงตอนกลางวัน
ความเมื่อยล้า
รับประทานมากกว่าปกติ

[Total: 2 Average: 5]